วิจัย การ แสดง บทบาท สมมติ

  1. แบบประเมินการแสดงบทบาทสมมติ
  2. ทักษะการจัดการเีรียนรู้ 3 โดย นางสาวชลิดา ไชยเอีย: 18.การใช้การแสดงบทบาทสมมติ

ความสามารถด้านภาษาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ การแสดงบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทาน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ. 01 2. การกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทาน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก ( X̅ = 2. 77, S. D. = 0. 43 Abstract The purposes of this study were 1) to compare the preschoolers' language proficiencies earned before and after learning through providing experiences by using role play and storytelling, 2) to investigate preschoolers' courage to act and assert themselves during undergoing the experiences provided from using role play and storytelling. The subjects were 20 preschoolers who attended Wat Srisawaat Child Development Center, Kham Hai Village, Haad Phaeng Sub-district, Si Songkram District, Nakhon Phanom Province. Purposively selected, these children enrolled in the second semester of 2016 academic year. The instruments comprised 1) the lesson plans constructed by using role play and storytelling, 2) stories which were believed to possess the power to enhance the preschoolers' language proficiency and their courage to act and assert themselves, 3) the test to evaluate the children's language proficiency, 4) the form to measure the children's acting courage and assertive behaviors.

แบบประเมินการแสดงบทบาทสมมติ

การเริ่มบทเรียน ผู้สอนสามารถกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนได้หลายวิธี เช่น โยงประสบการณ์ใกล้ตัวผู้เรียน หรือประสบการณ์ที่ผู้เรียนไดรับจากการเรียนครั้งก่อน ๆ เข้าสู่เรื่องที่จะศึกษา หรืออาจใช้วิธีเล่าเรื่องราวหรือสถานการณ์สมมติที่เตรียมมาแล้วทิ้งท้ายด้วยปัญหา เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากคิด อยากติดตาม หรืออาจใช้วิธีชี้แจงให้ผู้เรียนเห็นประโยชน์จาก การเข้าร่วมแสดง และช่วยกันคิดแก้ปัญหา 3. การเลือกผู้แสดง ควรเลือกให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการแสดง เช่น เลือก ผู้แสดงที่มีลักษณะเหมาะสมกับบทบาท เพื่อช่วยให้การแสดงเป็นไปอย่างราบรื่นตามวัตถุประสงค์ได้อย่างรวดเร็ว หรือเลือกผู้แสดงที่มีลักษณะตรงกันข้ามกับบทบาทที่กำหนดให้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนคนนั้นได้รับประสบการณ์ใหม่ ได้ทดลองแสดงพฤติกรรมใหม่ ๆ และเกิดความเข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมของผู้ที่มีลักษณะต่างไปจากตน หรืออาจให้ผู้เรียนอาสาสมัคร หรือเจาะจงเลือกคนใดคนหนึ่ง ด้วยวัตถุประสงค์ที่ต้องการช่วยให้บุคคลนั้นเกิดการเรียนรู้ เมื่อได้ ผู้แสดงแล้ว ควรให้เวลาผู้แสดงเตรียมการแสดง โดยอาจให้ฝึกซ้อมบ้างตามความจำเป็น 4. การเตรียมผู้สังเกตการณ์ หรือผู้ชม ผู้สอนควรเตรียมผู้ชม และทำความเข้าใจกับผู้ชมว่า การแสดงบทบาทสมมตินี้ จัดขึ้นมิใช่มุ่งที่ความสนุก แต่มุ่งที่จะให้เกิดการเรียนรู้เป็นสำคัญ ดังนั้นจึงควรชมด้วยความสังเกต ผู้สอนควรให้คำแนะนำว่าควรสังเกตอะไรและควรบันทึกข้อมูลอย่างไร และผู้สอนอาจจัดทำแบบสังเกตการณ์ให้ผู้ชมใช้ในการสังเกตด้วยก็ได้ 5.

ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผล การนำข้อมูลที่ได้จากการแสดงมาวิเคราะห์และอภิปราย ผู้สอนและผู้เรียนต้องร่วมมือกัน แต่ควรอภิปรายในรูปแบบของความมีเหตุมีผลเฉพาะการแสดงออกของผู้แสดงทางพฤติกรรมเท่านั้น แต่จะไม่มีการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับตัวผู้แสดง 4. ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป เมื่อได้วิเคราะห์และอภิปรายผลของการแสดงแล้ว ผู้สอนจะเป็นผู้เร้าและจูงใจให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ต่างๆ เพื่อให้มีแนวคิดกว้างขวางขึ้น โดยให้ข้อคิดว่าสิ่งที่ได้เรียนรู้หรือประสบพบเห็นนั้นๆ จะเกี่ยวข้องกับความเป็น จริงทั้งสิ้น แล้วให้ผู้เรียนช่วยกันให้แนวมโนทัศน์และช่วยกันสรุปประเด็นให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการแสดงบทบาทสมมติที่กำหนดไว้ บุญชม ศรีสะอาด (2541, หน้า 62 อ้างอิงใน กรมวิชาการ, 2543ข, หน้า 20) ได้เสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ ไว้ดังนี้ 1. ผู้สอนควรชี้แจงจุดประสงค์ของการแสดงบทบาทสมมติ และสิ่งที่ต้องการให้ผู้สังเกตศึกษาจากการแสดงบทบาทสมมตินั้น 2. ผู้สอนต้องเตรียมสถานการณ์ และมีคำอธิบายสถานการณ์ให้ชัดเจนสำหรับผู้ที่จะแสดงบทบาทแต่ละคน ซึ่งจะต้องจดจำสถานการณ์ที่ตนจะต้องแสดงบทบาทไว้ให้แม่นยำ มีความเข้าใจในบทบาทของตนอย่างรู้แจ้ง สถานการณ์และบทบาทที่กำหนดมักพิมพ์ลงในแผ่นกระดาษเพื่อมอบให้ผู้แสดงได้ศึกษา 3.

ควรให้เวลาในช่วงสั้นๆ สำหรับผู้ที่จะแสดงบทบาทสมมติได้ประมวลความคิดซักซ้อมและ เตรียมการ 4. ในการแสดงบทบาทสมมติ จะต้องมีบรรยากาศที่เสรีและความรู้สึกปลอดภัย 5. อาจมีการปรับปรุงและแสดงกิจกรรมบางตอนใหม่ 6. หลังจากการแสดงบทบาทสมมติควรมีการอภิปรายถึงพฤติกรรมที่แสดงและประเมินผลการปฏิบัติของผู้เรียน โดยใช้คำถามต่อไปนี้ 6. 1 แต่ละคนแสดงบทบาทได้สมจริงเพียงใด 6. 2 มีความแตกต่างของบทบาทที่แสดงในทางใด 6. 3 การแสดงบทบาทเปลี่ยนแปลงแนวคิดของท่านเกี่ยวกับตัวละครที่แสดงอย่างไร 6. 4 อะไรคือจุดประสงค์ของการแสดงบทบาทสำหรับบทเรียนนี้

88 (4) แบบ สอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการสอน โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติประกอบเพลง "ตามคำพ่อสอน" มีข้อคำถามจำนวน 10 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0. 81 (5) แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมด้านค่านิยมความเป็นพลเมืองดี เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ทั้ง 5 ชนิด ได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ โดยผู้เชี่ยวชาญ และผ่านการทดสอบจนมีคุณภาพก่อนนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย () ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S. D. ) การทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ค่า t-test ( dependent Samples) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ประสิทธิภาพของการแสดงบทบาทสมมติประกอบเพลง "ตามคำพ่อสอน" รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยรวมมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 86. 08/88. 06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียน ด้วย การแสดงบทบาทสมมติประกอบเพลง "ตามคำพ่อสอน" รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0. 01 3. ผลการศึกษาพฤติกรรมด้านค่านิยมความเป็นพลเมืองดี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 หลังจากใช้การแสดงบทบาทสมมติประกอบเพลง "ตามคำพ่อสอน" รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง โดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.

ผู้แสดงบทบาทสมมติจะต้องแสดงบทบาทของคนอื่น โดยละทิ้งแบบแผนพฤติกรรมของตนเองหรือการเปลี่ยนบทบาทซึ่งกันและกันกับเพื่อนหรือเป็นบุคคลสมมติ 2. ผู้แสดงบทบาทจะยังคงรักษาบทบาทและแบบแผนพฤติกรรมของตน แต่ปฏิบัติอยู่ในสถานการณ์ที่อาจพบในอนาคต บทบาทสมมติประเภทนี้เป็นประโยชน์ต่อการฝึกฝนทักษะเฉพาะ บทบาทสมมติที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนอยู่ในปัจจุบันนี้ แยกได้เป็น 3 วิธี ดังนี้ 1. การแสดงบทแสดงละคร วิธีนี้ผู้ที่จะแสดงต้องฝึกซ้อมแสดงท่าทางตามบทที่กำหนดขึ้นไว้แล้ว เช่น การแสดงละครเรื่องที่เกี่ยวกับบทเรียนในหนังสือเรียนภาษาไทย ผู้แสดงบทบาทสมมติแบบละคร จะต้องพูดตามบทบาทที่ผู้เขียนกำหนดขึ้น 2. การแสดงบทบาทสมมติแบบไม่มีบทเตรียมไว้ ผู้แสดงต้องไม่ฝึกซ้อมมาก่อนเรียนไปถึงเรื่องใดตอนใดก็ออกมาแสดงได้ทันที โดยแสดงไปตามความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เช่น แสดงเป็นบุคคลต่างๆ ในชุมนุมชน เป็นหมอ เป็นทหาร เป็นตำรวจ นักเรียนได้คิด ได้พูดและแสดงพฤติกรรมจากความรู้สึกนึกคิดของเขาเอง 3. การใช้บทบาทสมมติแบบเตรียมบทไว้พร้อม ผู้สอนได้เตรียมบทมาไว้ล้วงหน้าบอกความคิด รวบยอดให้ผู้แสดงทราบ ผู้แสดงอาจต้องแสดงตามบทบาทบ้าง คิดบทบาทขึ้นแสดงเองตามความพอใจบ้าง แต่ต้องตรงกับเนื้อเรื่องที่กำหนดให้ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมติ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1.

ทักษะการจัดการเีรียนรู้ 3 โดย นางสาวชลิดา ไชยเอีย: 18.การใช้การแสดงบทบาทสมมติ

3 จำนวน 3 ห้องเรียน รวม 125 คน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 นวัติกรรม/เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในชั้นเรียนแบ่งเป็น 4 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบ ทดสอบที่ผู้วิจัยได้ทำขึ้นโดยเป็นแบบทดสอก่อนเรียน (Pre – test) และหลังเรียน (Post – test) เป็นข้อสอบแบบปรนัย แบบ 4 ตัว เลือก จำนวน 20 ข้อ เพื่อวัดผลการเรียนรู้ตามเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรุ้และ ใช้ในการเปรียบเทียบผลการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 2. แบบประเมินผลงาน เป็นแบบประเมินที่ดูจากผลงานของนักเรียนโดยดูจากงานที่นักเรียนเขียนบทการแสดงและการแสดง บทบาทสมมุติของนักเรียนลงในเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ว่ามีความสมเหตุสมผลและน่าสนใจมีความแปลกใหม่แต่ไม่ไปทำให้เสียข้อมูลที่ถูกต้อง โดยจะมีการประเมินจากเพื่อนประเมินตัวผู้เรียนประเมิน ครูผู้สอนเป็นผู้ประเมิน และนำคะแนนมาทำคะแนนมาตรฐาน 3. แบบสอบถาม เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน เป็นคำถามปลายปิดให้เลือกตอบ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นกับการเรียนรู้โดยใช้การสร้างบทบาทสมมุติ 4.

Download No category ณัฏฐ์ฎาพร จีรวัฒน์ พนิดา เพ็ญศรี วนิดา พิสมัย สุทธิเกียรติ ชาญชัย อารีรักษ์ หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาการฝึกสอนกีฬา สาขาการจัดการกีฬา ประจำเดือน กันยายน 2558 - กองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยพะเยา ชุดทดลองกฏข้อที่ 2 ของนิวตัน ภาษาไทย ร ำลึก อนุสรณ์ 57 - โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง พฤติกรรมในการแก ป ญหาของเด็กปฐมวัยที่ได รั ตารางการนำเสนอผลงาน PDF this PDF file Issue 106 - แรงกระตุ้นของนโยบายการคลังในปี 2558-2559 ตัวอย่าง งานวิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่อง ศปก. อ. เทพา Chapter 5 - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โรงเรียนอัสสัมชัญ 1. ชื่อเรื่อง การส งเสริมคุ การคิดคะแนนในการคัดเลือก (Admissions) ปีการศึกษา 2554 กลองปู่เจ่ โครงการพัฒนาองค ความรู และทักษะที่จําเป นส การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ใน การเขียนตัวสะกดแม่กบโดยใช้แบบฝึก Document

  1. ทักษะการจัดการเีรียนรู้ 3 โดย นางสาวชลิดา ไชยเอีย: 18.การใช้การแสดงบทบาทสมมติ
  2. เลอ โน โว vibe s r.o
  3. แบบประเมินการแสดงบทบาทสมมติ
  4. ราว ตาก ผ้า super rock'n
  5. การจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) - GotoKnow
  6. การพัฒนาบทบาทสมมุติประกอบเพลง

ผลงานวิจัย ของ อ.

ยาง ออฟ โร ด ขอบ 15
  1. โอ อิ ชิ เกี๊ยว ซ่า
  2. ฮุ น ได ทู ซอน
  3. โทรศัพท์ โดน น้ํา สัมผัส ไม่ ได้
  4. ฟิ ว เจอร์ บอร์ด กั้น ห้อง
  5. สี ทา บ้าน ภายใน top 10
Monday, 24-Jan-22 21:36:31 UTC