โรค หลอดเลือด แดง ใหญ่ โป่ง พอง

มีภาวะรั่วซึมหรือปริแตกของหลอดเลือดแดงใหญ่ 2. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองที่มีอาการเจ็บปวดบริเวณก้อน เช่น ปวดท้อง ปวดหลัง หรือเจ็บแน่นหน้าอก 3. ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการแสดง หากหลอดเลือดแดงใหญ่มีขนาดโตกว่า 5 - 5. 5 ซม. หรือมีขนาดโตเร็วกว่า 3 - 5 มม. ใน 1 ปี 4. ผู้ป่วยเพศหญิงหรือผู้ป่วยอายุน้อยที่แม้มีหลอดเลือดโป่งพองขนาดเล็กกว่า 5 ซม. แต่มีปัจจัยเสี่ยงในการแตกของก้อน เช่น มีประวัติคนในครอบครัวเคยมีหลอดเลือดแดงใหญ่แตกฉียบพลัน หมายเหตุ ผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดโป่งพองแต่ไม่มีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดรักษา ควรได้รับการตรวจซ้ำอย่างต่อเนื่องด้วยการตรวจอัลตราซาวนด์ หรือการถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทุก 3 - 6 เดือน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์หัวใจ ชั้น 4 โซน C 3. หากผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก ปวดหลัง หน้ามืด หมดสติ หรือไอเป็นเลือด อาจบ่งชี้ว่าหลอดเลือดแดงใหญ่มีการปริแตก ในผู้ป่วยที่หลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพองอาจคลำก้อนเต้นได้ในช่องท้อง หรือมีอาการปวดท้อง ปวดหลัง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์หัวใจ ชั้น 4 โซน C

อีกขั้นในการรักษา โรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง (TEVAR) แทนการผ่าตัดเปิดอกหรือหน้าท้อง | โรงพยาบาลสุขุมวิท

สุขุมวิท ได้รับตัวไว้เป็นผู้ป่วยใน เพราะอายุมาก( 83 ปี) และคนไข้เหนื่อยมาก การติดตามผล X-RAY ปอดประจำวัน 5 วันติดต่อกันพบว่าหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจโป่งโตรวดเร็วจนน่ากลัว เกรงว่าหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองปริแล้ว ณ เวลานั้น" เมื่อเจอเข้าอย่างนั้นแล้ว คุณหมอชาติ จึงรีบปรึกษาทีมแพทย์ นพ. กิตติชัย เหลืองทวีบุญ ศัลยแพทย์ด้านหลอดเลือดและทรวงอก ให้รีบทำการรักษาคนไข้โดยทันที ก่อนที่ภาวะหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองซึ่งปริแล้วจะแตก ซึ่งหากเกิดขึ้นแม้ในโรงพยาบาลก็อาจไม่ทันการ ประเด็นแรกนี้ คุณหมอชาติสรุปว่า ไข้หวัดใหญ่ นำคนไข้มาพบแพทย์เพื่อรักษาภาวะหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองติดเชื้อ และรุกลามต่อไปกลายเป็น ภาวะโลหิตเป็นพิษนั่นเอง ใช้เทคโนโลยี TEVAR ลดอัตราเสี่ยง แผลเล็ก หายไว นพ. กิตติชัย เหลืองทวีบุญ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอก ซึ่งร่วมดูแลผู้ป่วยรายนี้ได้อธิบายว่า หลอดเลือดแดงใหญ่เป็นเส้นทางนำเลือดแดงออกจากช่องหัวใจซ้ายล่างไปเลี้ยงทั่วร่างกาย หากเกิดความผิดปกติเมื่อใดจะเป็นอันตราย คำว่า "โป่งพอง" คือหลอดเลือดค่อย ๆ โป่งขึ้น หากโป่งไปถึง 5. 5 ซม. จะมีโอกาสสูงมากที่ปริและ/หรือแตกโดยเฉียบพลัน และอาจส่งผลต่อชีวิตได้ เพราะฉะนั้นถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางโป่งเกิน 2 เท่าของปกติแล้วก็สมควรได้รับการรักษา มิฉะนั้นจะลงท้ายด้วยการแตกแล้วโอกาสรอดชีวิตมีไม่ถึง 50%!!!

ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่มีอาการใดๆ นำมาก่อน อาจตรวจพบโดยบังเอิญจากการถ่ายภาพเอกซเรย์ทรวงอก หรือคลำก้อนเต้นได้ในช่องท้อง 2. ผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงโป่งพองในช่องอกอาจมีอาการกดเบียดของหลอดเลือดกับอวัยวะข้างเคียง เช่น กดหลอดลมทำให้หายใจลำบาก กดเบียดหลอดอาหารทำให้กลืนลำบาก กดเบียดเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงกล่องเสียงทำให้เสียงแหบ เป็นต้น 3. หากผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก ปวดหลัง หน้ามืด หมดสติ หรือไอเป็นเลือด อาจบ่งชี้ว่าหลอดเลือดแดงใหญ่ มีการปริแตก ในผู้ป่วยที่หลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพองอาจคลำก้อนเต้นได้ในช่องท้อง หรือมีอาการปวดท้อง ปวดหลัง 4. หากมีอาการดังกล่าวควรรีบพบแพทย์เพื่อทำการวินิจฉัยจากการสอบถามประวัติอาการ ตรวจร่างกายร่วมกับตรวจเพิ่มเติม เช่น การถ่ายภาพเอกซเรย์ทรวงอกหรือช่องท้อง การตรวจด้วยเครื่องอัลตราซาวนด์ (Ultrasound), การถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดแดงโป่งพอง 1. มีประวัติครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง 2. เป็นความดันโลหิตสูง 3. การสูบบุหรี่ 4. เป็นโรคหัวใจ แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดแดงโป่งพอง 1. การควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น ควบคุมความดันโลหิต งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงภาวะตั้งครรภ์ หลีกเลี่ยงการเบ่งอุจจาระ หรือยกของหนัก 2.

กิตติชัย เหลืองทวีบุญ ด้านศัลยกรรมทรวงอก หลอดเลือดและหัวใจ โรงพยาบาลพญาไท 2

Rate this article: มารู้จักโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองกันเถอะ Posted by: Phyathai Hospital Review: ★ แพทย์

  • ตรวจหวย 16 12 63
  • รับ สมัคร พนักงาน ขาย บ้าน
  • ส่องเทรนด์แฟชั่น กระเป๋าอะโวคาโดสุดน่ารัก | TrueID In-Trend
  • สอน โหลด final fantasy xv brotherhood
  • โรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองในช่องท้องผู้สูงวัย – โรงพยาบาลราชวิถี
  • คุณเสี่ยง? โรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง | โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
  • ช่วยแนะนำไม้ดอก ที่ออกดอกเกือบทุกวัน หน่อยครับ - Pantip

การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด โดยแพทย์จะใช้วิธีผ่าตัดผ่านช่องทรวงอกหรือช่องท้อง ขึ้นอยู่กับตำแหน่งพยาธิสภาพของหลอดเลือด แล้วทำการใส่หลอดเลือดเทียมทดแทน 3.

โรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองในช่องท้องผู้สูงวัย – โรงพยาบาลราชวิถี

การ เคลื่อนที่ ของ สาร ผ่าน เยื่อ หุ้ม เซลล์

ด้วยวัยที่เพิ่มขึ้นล้วนส่งผลให้เกิดปัจจัยเสี่ยงของโรคต่างๆ หนึ่งสิ่งที่สำคัญคือ "การเสื่อมสภาพ" ไปพร้อมกับวัยที่เพิ่มขึ้นตามกาลเวลาโดยไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ยิ่งวัยสูงมากก็ยิ่งเสี่ยงมาก... อย่างหนึ่งเห็นจะเป็นกรณี "หลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง" ซึ่งแม้จะไม่เกิดกับทุกคนก็ไม่ควรประมาทเพราะเมื่อใดที่มันเกิดขึ้นมาแล้วหากรักษาไม่ทันการ อันตรายอาจถึงขั้นเสียชีวิตฉับพลัน จึงนำข้อมูลจาก นพ.

ตรวจ สลาก 16 ก ย 62

5 ซม. ส่วนในรายที่ยังมีขนาดเล็กหรือไม่ถึง 5. นั้นทางแพทย์จะแนะนำให้ลดปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้หลอดเลือดโตเร็ว คือการเลิกสูบบุหรี่ ควบคุมไขมันในเลือด หรือควบคุมความดันโลหิต กรณีที่ต้องผ่าตัดนั้น จะมีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ 1. ผ่าตัดแบบเปิดช่องท้อง หรือ การผ่าตัดใหญ่ เป็นการผ่าตัดแบบมาตรฐานโดยแพทย์ต้องวางยาสลบ และทำการเปิดแผลใหญ่ตั้งแต่ลิ้นปี่ไปจนถึงขาหนีบ ก่อนใส่หลอดเลือดเทียมเข้าไปทดแทนหลอดเลือดแดงใหญ่ที่โป่งพอง ซึ่งให้ผลการรักษาในระยะยาวได้ดี แต่ต้องใช้ระยะเวลาในการผ่าตัดค่อนข้างนานจึงอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย 2. การผ่าตัดแบบใส่หลอดเลือดเทียมที่มีสายสวน หรือ การผ่าตัดเล็ก วิธีนี้เป็นทางเลือกใหม่ในการรักษาที่ต้องอาศัยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง โดยแพทย์จะทำการใส่หลอดเลือดเทียมชนิดหุ้มด้วยขดลวดเข้าไปแทนที่หลอดเลือดแดงใหญ่ที่โป่งพองในช่องท้องผ่านทางหลอดเลือดแดงที่ขาหนีบทั้ง 2 ข้าง ข้อดีของวิธีนี้ คือ แผลผ่าตัดมีขนาดเล็ก เจ็บตัวน้อย ฟื้นตัวได้เร็ว และมีความปลอดภัยสูง นอกจากนี้ยังช่วยลดภาวะแทรกซ้อนทำให้อัตราการเสียชีวิตลดลง การรักษาในระยะสั้นและระยะกลางมีประสิทธิภาพดีแต่ต้องมาพบแพทย์เพื่อติดตามผลในระยะยาวต่อไป ที่มา: Please follow and like us:

00 of 10, จากจำนวนคนโหวต 2 คน คาดคะเนสุขภาพในอนาคต… คำตอบอาจอยู่ที่ยีนของคุณ ฟังผ่าน Bumrungrad Podcast ได้แล้ววันนี้ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ อ่านเพิ่มเติม เช็คความเสี่ยงโรคหัวใจ ด้วยการตรวจยีน โรคทางพันธุกรรม โรคหัวใจ การตรวจพันธุกรรม พันธุกรรมโรคหัวใจ Podcast โรคมะเร็ง โรคหัวใจ อ่านเพิ่มเติม

Monday, 24-Jan-22 22:30:31 UTC